หน้าเว็บ

จำนวนการดูหน้าเว็บรวม


วันพุธที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563

สมุนไพรบรรเทาอาการปวดกล้ามเนื้อ

  สมุนไพรที่ช่วยบรรเทาอาการปวดกล้ามเนื้อ ได้แก่ เถาวัลย์เปรียง โคคลาน ตำรับยาสหัสธารา กระชาย เป็นต้น


 สำหรับสมุนไพรที่ใช้ในตำรับยาใช้ภายนอก เช่น พริก และไพล เป็นต้น



เป็นริดสีดวงทวาร ทำไงดี ไม่อยากสวนทวาร ถ่ายเป็นเลือด

  ริดสีดวงมีอาการหลายระยะ และมีแนวทางการรักษาหลายวิธี เช่น

 การให้ยากิน ยาเหน็บทวาร หรือฉีดยาเข้าไปในตำแหน่งที่เลือดออก การยิงยางรัดโคนหรือหัวของริดสีดวงที่โผล่ออกมา เพื่อจะทำให้หัวริดสีดวงนั้นฝ่อและหลุดออกไปได้เอง และบางรายอาจต้องรักษาด้วยการผ่าตัด สำหรับการใช้สมุนไพร เพชรสังฆาต ถูกบรรจุอยู่ในสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาติ กลุ่มยาบรรเทาริดสีดวงทวารหนัก มี 2 ตำรับ คือ

- ตำรับที่ 1 แคปซูลผงยา 100 กรัม (ประกอบด้วยเถาเพชรสังฆาต 70 กรัม รากอัคคีทวาร 20 กรัม โกศน้ำเต้า 10 กรัม) รับประทานครั้งละ 1.2 กรัม วันละ 3 ครั้ง หลังอาหารทันที


- ตำรับที่ 2 แคปซูลผงยา 85 กรัม (ประกอบด้วยเถาเพชรสังฆาต 50 กรัม กะเม็ง 15 กรัม โกศน้ำเต้า 10 กรัม หัวกระชาย 10 กรัม) รับประทานครั้งละ 500 มล.-1 กรัม วันละ 3 ครั้ง หลังอาหารทันที


ทั้งสองตำรับแนะนำให้รับประทานเพื่อรักษาอาการเท่านั้น เมื่ออาการดีขึ้นแล้วให้หยุดใช้ อย่างไรก็ตามการรักษาริดสีดวงควรอยู่ภายใต้การดูแลของแพทย์ หรือปรึกษาด้านการใช้ยากับเภสัชกรตามร้านขายยา รวมทั้งการดูแลตัวเองในเรื่องการขับถ่ายให้เป็นปกติ

สารที่พบในผักเสี้ยนผี






สารที่พบในผักเสี้ยนผี ได้แก่
- สารกลุ่ม triterpene เช่น beta-amyrin, lupeol
- สารกลุ่ม lipid เช่น behenic acid, linoleic acid, linolenic acid, myristic acid
- สารกลุ่ม diterpene เช่น cleomeolide
- สารกลุ่ม coumarin เช่น cleomiscosin a, fraxetin

จากการสืบค้นงานวิจัยของผักเสี้ยนผี พบว่าสาร cleomeolide และ cleomaldeic acid ซึ่งพบใน95% เอทานอลของผักเสี้ยนผีมีฤทธิ์ในการบรรเทาอาการอักเสบ
.
ต้มกินเดี่ยวๆได้ โดยกินหลังอาหารทันที



สรรพคุณของกระชายแกง เอกสารอ้างอิง งานวิจัย ว่ารักษาอาการปวดกล้ามเนื้อ รูมาตอยด์ เกาท์ ค

กระชาย มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Boesenbergia rotunda (L.) Mansf.

โทร+ไลน์ 0809898770 สั่งกระชาย แห้ง และแบบแคปซูล ราคา490บาทที่ 200เม็ด

 กระชาย Boesenbergia rotunda  (L.) Mansf. มีสายพันธุ์เดียว คือ กระชายที่เรานำไปรับประทานค่ะ หรือใส่ในเครื่องแกง เป็นพืชล้มลุก หัวใต้ดินรูปทรงกระบอกเรียวแหลม คล้ายนิ้วมือ เนื้อในสีเหลือง มึกลิ่นหอม โคนก้านใบที่เป็นกาบหุ้มซ้อนกันสูง กาบใบมีสีแดงเรื่อๆ แผ่นใบรูปรีปลายแหลม โคนแหลมหรือมน ขอบเรียบ ดอกออกเป็นช่อที่ กลีบดอกสีขาว หรือขาวอมชมพู และมีพืชอีกชนิดหนึ่ง ที่บางครั้งจะมีเข้าใจว่าเป็นพืชชนิดเดียวกัน นั่นคือกระชายดำ Kaempferia parviflora  Wall. ex Baker ลักษณะภายนอกคล้ายคลึงกัน กาบใบมีสีแดงเรื่อๆ เหมือนกัน กลีบดอกสีขาวแต้มม่วง สองชนิดนี้ต่างกันที่ลักษณะของหัวใต้ดิน คือหง้าของกระชายดำจะลักษณะกลมป้อม และเนื้อในมีสีม่วงอมดำ

กระชายเป็นพืชสมุนไพรที่ใช้รากส่วนที่เป็นเหง้าเป็นอาหาร ซึ่งในเหง้าของกระชายจะมีปริมาณคาร์โบไฮเดรต 9.2 กรัม ต่อกระชาย 100 กรัม ดังนั้นเวลาคุณปั่นกระชายจะมีลักษณะคล้ายแป้ง (แป้ง) นอนก้นอยู่ค่ะ ซึ่งสามารถรับประทานได้

มีสรรพคุณในการบรรเทาอาการปวดกล้ามเนื้อ รูมาตอยด์ เกาท์ ช่วยขับลม แก้ท้องอืด ปวดท้อง และโรคกระเพาะ

โดยมีรายงานฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาที่สัมพันธ์กับการช่วยลดอาการปวดข้อคือ ฤทธิ์ต้านการอักเสบ

โดยพบว่าสารสกัดจากรากกระชายและสารสำคัญที่พบมีฤทธิ์ลดการอักเสบในหนูที่ถูกเหนี่ยวนำให้เกิดการอักเสบที่หู

นอกจากนี้มีฤทธิ์ยับยั้งการหลั่งสารสื่อกลางการอักเสบ ได้แก่ nitric Oxide (NO), prostaglandin E2 (PGE2), tumour Necrosis Factor Alpha (TNF-α), interleukin-1β (IL-1β), และ interleukin-6 (IL-6) และสาร cardamonin ที่พบในกระชายมีฤทธิ์ลดอาการปวด อักเสบและการทำลายข้อในหนูที่ถูกเหนี่ยวนำให้เป็นโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์

การกินที่ง่ายที่สึดคือ บดแล้วใส่แคปซูล นั่นละ

 อ่านข้อมูลเพิ่มเติมได้จาก :

1. Eng-Chong T, Yean-Kee L, Chin-Fei C, Choon-Han H, Sher-Ming W, Li-Ping CT, Gen-Teck F, Khalid N, Abd Rahman N, Karsani SA, Othman S, Othman R, Yusof R. Boesenbergia rotunda: From Ethnomedicine to Drug Discovery. Evid Based Complement Alternat Med. 2012;2012:473637. doi: 10.1155/2012/473637.

2. Voon FL, Sulaiman MR, Akhtar MN, Idris MF, Akira A, Perimal EK, Israf DA, Ming-Tatt L. Cardamonin (2,4-dihydroxy-6-methoxychalcone) isolated from Boesenbergia rotunda (L.) Mansf. inhibits CFA-induced rheumatoid arthritis in rats. Eur J Pharmacol. 2017;794:127-134.


เอกสารอ้างอิง
https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/23243448
 Abstract
Boesenbergia rotunda is a herb from the Boesenbergia genera under the Zingiberaceae family. B. rotunda is widely found in Asian countries where it is commonly used as a food ingredient and in ethnomedicinal preparations. The popularity of its ethnomedicinal usage has drawn the attention of scientists worldwide to further investigate its medicinal properties. Advancement in drug design and discovery research has led to the development of synthetic drugs from B. rotunda metabolites via bioinformatics and medicinal chemistry studies. Furthermore, with the advent of genomics, transcriptomics, proteomics, and metabolomics, new insights on the biosynthetic pathways of B. rotunda metabolites can be elucidated, enabling researchers to predict the potential bioactive compounds responsible for the medicinal properties of the plant. The vast biological activities exhibited by the compounds obtained from B. rotunda warrant further investigation through studies such as drug discovery, polypharmacology, and drug delivery using nanotechnology.

https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/27845065
Abstract
Boesenbergia rotunda (L.) Mansf. had been traditionally used as herbs to treat pain and rheumatism. Cardamonin (2',4'-dihydroxy-6'-methoxychalcone) is a compound isolated from Boesenbergia rotunda (L.) Mansf.. Previous study had shown the potential of cardamonin in inhibiting the release of pro-inflammatory cytokines such as tumour necrosis factor-α (TNF-α), interleukin-1β (IL-1β), and interleukin-6 (IL-6) in vitro. Thus, the possible therapeutic effect of cardamonin in the rheumatoid arthritis (RA) joints is postulated. This study was performed to investigate the anti-arthritic properties of cardamonin in rat model of induced RA, particularly on the inflammatory and pain response of RA. Rheumatoid arthritis paw inflammation was induced by intraplantar (i.pl.) injection of complete Freund's adjuvant (CFA) in Sprague Dawley rats. Using four doses of cardamonin (0.625, 1.25, 2.5, and 5.0mg/kg), anti-arthritic activity was evaluated through the paw edema, mechanical allodynia and thermal hyperalgesia responses. Enzyme-linked immunosorbent assay (ELISA) was carried out to evaluate the plasma level of TNF-α, IL-1β, and IL-6. Histological slides were prepared from the harvested rat paws to observe the arthritic changes in the joints. Behavioral, biochemical, and histological studies showed that cardamonin demonstrated significant inhibition on RA-induced inflammatory and pain responses as well as progression of joint destruction in rats. ELISA results showed that there was significant inhibition in TNF-α, IL-1β, and IL-6 levels in plasma of the cardamonin-treated RA rats. Overall, cardamonin possesses potential anti-arthritic properties in CFA-induced RA rat model.

Copyright © 2016 Elsevier B.V. All rights reserved.